ประเพณีหรือประวัติการเกี่ยวข้าว
เดือนสามเหนือตรงกับเดือนอ้ายภาคกลางโดยประมาณเดือนธันวาคมของปี
ทางสุรยคติ
ในช่วงระยะดังกล่าวข้าวกล้าในท้องทุ่งนาจะเริ่มสุกแก่
ชาวนาจะเริ่มเก็บเกี่ยวเพื่อนำมาเก็บไว้ในยุ้งฉางต่อไป
และจะมีพิธีกรรมและความเชื่อต่าง ๆ
ในการเก็บเกี่ยวข้าวในนา ซึ่งถือปฏิบัติกันมาทุกครัวเรือนอย่างเช่น
การแฮกนาเกี่ยวข้าว โดยชาวนาจะหาฤกษ์หาวันที่ดีก่อน เมื่อลดน้ำในนาให้แห้งคือผิวดินในท้องนาแห้งเพื่อจะได้เกี่ยวข้าวง่ายขึ้น เมื่อชาวนาหาฤกษ์ได้แล้วก็จะเตรียมเครื่องพลีกรรมบูชาแม่โพสบ เช่น แว่น หวี แป้ง น้ำมันทาผม เนื้อย่าง ปลาย่าง หมากเมี่ยงบูหรี่ ธูปเทียน ดอกไม้ของหอม โดยนำไปบูชาที่ค้างเต้า บริเวณมุมนาด้านใดด้านหนึ่ง เสร็จแล้วเจ้าของนาจะเกี่ยวข้าวเป็นพิธีเล็กน้อย หลังจากนั้นสองสามวันก็จะลงมือเกี่ยวข้าวจนหมดในเนื้อที่ของตน (บางแห่งการแฮกนาเกี่ยวข้าวชาวนาจะนำเอาข้าวปั้นกล้วย ลูกหมากมัดปูใบ นำไปแฮกข้าวในนาของตนแล้วเกี่ยวข้าวเป็นพิธี เชื่อว่าคงจะเป็นประเพณีอันเดียวกันแต่เป็นการลัดขั้นตอนลงมาบ้าง)
การแฮกนาเกี่ยวข้าว โดยชาวนาจะหาฤกษ์หาวันที่ดีก่อน เมื่อลดน้ำในนาให้แห้งคือผิวดินในท้องนาแห้งเพื่อจะได้เกี่ยวข้าวง่ายขึ้น เมื่อชาวนาหาฤกษ์ได้แล้วก็จะเตรียมเครื่องพลีกรรมบูชาแม่โพสบ เช่น แว่น หวี แป้ง น้ำมันทาผม เนื้อย่าง ปลาย่าง หมากเมี่ยงบูหรี่ ธูปเทียน ดอกไม้ของหอม โดยนำไปบูชาที่ค้างเต้า บริเวณมุมนาด้านใดด้านหนึ่ง เสร็จแล้วเจ้าของนาจะเกี่ยวข้าวเป็นพิธีเล็กน้อย หลังจากนั้นสองสามวันก็จะลงมือเกี่ยวข้าวจนหมดในเนื้อที่ของตน (บางแห่งการแฮกนาเกี่ยวข้าวชาวนาจะนำเอาข้าวปั้นกล้วย ลูกหมากมัดปูใบ นำไปแฮกข้าวในนาของตนแล้วเกี่ยวข้าวเป็นพิธี เชื่อว่าคงจะเป็นประเพณีอันเดียวกันแต่เป็นการลัดขั้นตอนลงมาบ้าง)
การเกี่ยวข้าว
ชาวนาจะเริ่มเกี่ยวข้าวหลังจากทำพิธีแฮกข้าวแล้วสองสามวันก็จะเก็บเกี่ยว
ข้าวในนาของตน
เมื่อข้าวยังไม่แห้งพอจึงต้องเกี่ยวข้าวแล้วผึ่งแดดไว้
การฝัดข้าว เมื่อชาวนาเกี่ยวข้าวทิ้งไว้เพื่อผึ่งแดดให้แห้งที่เรียกว่าข้าวเพ่าทิ้งไว้ ประมาณสามถึงห้าแดดก็จะนำเอาข้าวเพ่ามารวมเข้าด้วยกันเป็นมัด ๆ การมัดข้าวต้องคำนึงถึงการนวดด้วย จะนวดข้าวโดยวิธีไหนก็จะมัดโดยวิธีการนั้น ๆ เช่น นวดโดยการตีข้าว ก็จะมัดข้าวให้โตขึ้น ถ้านวดโดยการฟาดข้าวก็จะมัดข้าวให้เล็กลง ซึ่งจะกล่าวในตอนนวดข้าวอีกครั้งหนึ่ง เมื่อมัดข้าวเรียบร้อยแล้วก็จะนำไปรวมกันไว้เป็นกอง ๆ เรียกว่า กองข้าว (ก๋องข้าว) (บางพื้นที่พอมัดข้าวเสร็จก็จะนวดข้าวแล้วนำเก็บยุ้งฉางเลย) การกองข้าวหรือการรวบข้าวคือการนำเอาข้าวเพ่ามารวมเป็นกอง ๆ บางแห้งจะกองรวมกันไว้เป็นรูประฆังคว่ำ บางแห่งกองเป็นรูปต้าไอ, ตัวยู ตัวแอว แล้วต่ละบ้านจะทำกัน บางบ้านกองไว้บนคันนา
การขนข้าวมากอง เมื่อชาวนามัดข้าวเสร็จแล้วจะขนข้าวที่มัดแล้วนำมากองไว้เป็นรูปต่าง ๆ ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะทำกันหลายวิธี คือ
1. การขนข้าวโดยใช้ผ้าขาวม้าพันแล้วนำมาทูนหัวขนไปรวมกองที่เตรียมไว้
2. การหาบหลาง คือ การนำไม้ไผ่หนพอประมาณนำมาแหลมหัวท้ายแล้วนำมัดข้าวเสียบเข้าที่ปลายไม้ทั้ง 2 ข้าง แล้วหาบไปรวมกอง
3. การหาบหมา คือ การนำกระบะสี่ขาคล้ายขาหมาแล้วนำข้าวรวมไว้บนกระบะแล้วหาบไปรวมกอง
4. ตั้งแต่เริ่มมีการเกี่ยวข้าว มัดข้าว นวดข้าว ทางภาคเหนือก็มีการลงแขกกันแต่ทางภาคเหนือเรียกว่า การเอามือ, เอามื้อ เป็นการไปตอบส้ายกันเก็บเกี่ยวข้าว
การนวดข้าว คือ การนวดข้าวเป็นการทำให้เมล็ดข้าวหลุดออกจากรวงข้าว ทางภาคเหนือเรียกหลายอย่าง เช่น การบุบข้าว การตีข้าว การฟาดข้าว
การบุบข้าว คือ การนำเอาข้าวเพ่ามารวมกันมัดข้าวจะโตรยมกันสองสามวันมัดแล้วใช้ไม้คล้าย ตะเกียบมีเชือกผูกปลายไม้รวมมัดข้าวเข้าด้วยกันแล้วตีกับไม้หนา ๆ ให้ในตารางข้าว
การตีข้าว เป็นการนำเอาข้าวมาตีในแอ่งหรือ “คุ” ซึ่งสานด้วยผิวไม้ไผ่
การฟาดข้าว เป็นการนำเอาข้าวเพ่ามัดเล็ก ๆ มาฟากกับไม้หนาในตารางจะฟาดด้วยมือกำข้าวมัดพอประมาณ
การฝัดข้าว เมื่อชาวนาเกี่ยวข้าวทิ้งไว้เพื่อผึ่งแดดให้แห้งที่เรียกว่าข้าวเพ่าทิ้งไว้ ประมาณสามถึงห้าแดดก็จะนำเอาข้าวเพ่ามารวมเข้าด้วยกันเป็นมัด ๆ การมัดข้าวต้องคำนึงถึงการนวดด้วย จะนวดข้าวโดยวิธีไหนก็จะมัดโดยวิธีการนั้น ๆ เช่น นวดโดยการตีข้าว ก็จะมัดข้าวให้โตขึ้น ถ้านวดโดยการฟาดข้าวก็จะมัดข้าวให้เล็กลง ซึ่งจะกล่าวในตอนนวดข้าวอีกครั้งหนึ่ง เมื่อมัดข้าวเรียบร้อยแล้วก็จะนำไปรวมกันไว้เป็นกอง ๆ เรียกว่า กองข้าว (ก๋องข้าว) (บางพื้นที่พอมัดข้าวเสร็จก็จะนวดข้าวแล้วนำเก็บยุ้งฉางเลย) การกองข้าวหรือการรวบข้าวคือการนำเอาข้าวเพ่ามารวมเป็นกอง ๆ บางแห้งจะกองรวมกันไว้เป็นรูประฆังคว่ำ บางแห่งกองเป็นรูปต้าไอ, ตัวยู ตัวแอว แล้วต่ละบ้านจะทำกัน บางบ้านกองไว้บนคันนา
การขนข้าวมากอง เมื่อชาวนามัดข้าวเสร็จแล้วจะขนข้าวที่มัดแล้วนำมากองไว้เป็นรูปต่าง ๆ ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นจะทำกันหลายวิธี คือ
1. การขนข้าวโดยใช้ผ้าขาวม้าพันแล้วนำมาทูนหัวขนไปรวมกองที่เตรียมไว้
2. การหาบหลาง คือ การนำไม้ไผ่หนพอประมาณนำมาแหลมหัวท้ายแล้วนำมัดข้าวเสียบเข้าที่ปลายไม้ทั้ง 2 ข้าง แล้วหาบไปรวมกอง
3. การหาบหมา คือ การนำกระบะสี่ขาคล้ายขาหมาแล้วนำข้าวรวมไว้บนกระบะแล้วหาบไปรวมกอง
4. ตั้งแต่เริ่มมีการเกี่ยวข้าว มัดข้าว นวดข้าว ทางภาคเหนือก็มีการลงแขกกันแต่ทางภาคเหนือเรียกว่า การเอามือ, เอามื้อ เป็นการไปตอบส้ายกันเก็บเกี่ยวข้าว
การนวดข้าว คือ การนวดข้าวเป็นการทำให้เมล็ดข้าวหลุดออกจากรวงข้าว ทางภาคเหนือเรียกหลายอย่าง เช่น การบุบข้าว การตีข้าว การฟาดข้าว
การบุบข้าว คือ การนำเอาข้าวเพ่ามารวมกันมัดข้าวจะโตรยมกันสองสามวันมัดแล้วใช้ไม้คล้าย ตะเกียบมีเชือกผูกปลายไม้รวมมัดข้าวเข้าด้วยกันแล้วตีกับไม้หนา ๆ ให้ในตารางข้าว
การตีข้าว เป็นการนำเอาข้าวมาตีในแอ่งหรือ “คุ” ซึ่งสานด้วยผิวไม้ไผ่
การฟาดข้าว เป็นการนำเอาข้าวเพ่ามัดเล็ก ๆ มาฟากกับไม้หนาในตารางจะฟาดด้วยมือกำข้าวมัดพอประมาณ
การตีข้าวในตาราง ตารางคือ
การที่ชาวนานำข้าวมากองรวมกันไว้จะเป็นรูปอะไรก็แล้วแต่เขาจะใช้จอบ
เสียบ หรือตัด
ต้นข้าวในนานั้นทิ้ง แล้วปรับพื้นดินให้เรียบแล้วผสมขี้ควายกับน้ำละเลงลงในพื้นดินที่ปรับ
แล้วทิ้งไว้ให้แห้ง ปัจจุบันไม่ค่อยนิยม
ส่วนมากจะใช้วัสดุรองพื้น เช่น สาด กะลา
(เสื่อที่ทำด้วยไม้ไผ่) ผ้าพลาสติก เป็นต้น จากนั้นก็ขนข้าวเข้ายุ้งฉางต่อไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น